ประวัติผู้ประเมิน
ข้อตกลง PA และรายงานผลการปฏิบัติงาน
ผลงานประเมิน PA
นางสาวธีร์จุฑา เทศสมบูรณ์
ตำแหน่ง ครู ยังไม่มีวิทยฐานะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ประวัติส่วนตัวผู้รับประเมิน
การขายสำหรับนักธุรกิจมืออาชีพ ม.4
การเปลี่ยนผ่านของธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ม.5
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ม.5
ทักษะนักธุรกิจรุ่นใหม่ ม.6
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
รายวิชา การงานพื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา การขายสำหรับนักธุรกิจมืออาชีพ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา การเปลี่ยนผ่านของธุรกิจการค้าสมัยใหม่ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ทักษะนักธุรกิจรุ่นใหม่ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุมไอเดียแคนดู จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่องการใช้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาการขาดทักษะการปฏิบัติงาน เรื่องการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น ในรายวิชา การงานพื้นฐานอาชีพ (ง 21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
สภาพปัญหาของผู้เรียนยังพบปัญหานักเรียนขาดทักษะการปฏิบัติงาน ทำให้มีความล่าช้าในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากนักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติงาน จึงส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนั้น ครูผู้สอนจึงได้ใช้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาการขาดทักษะการปฏิบัติงาน และได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ในเรื่องการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น ช่วยให้นักเรียนได้มีการวางแผนการทำกิจกรรม มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเข้าใจในกระบวนการทำงาน ส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาร่วมกัน นักเรียนมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น สามารถแก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ และยังส่งผลดีทางด้านจิตใจในการเรียนของนักเรียน
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.1 สร้างและพัฒนาหลักสูตร :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ :::
ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียนและชุมชน โดย
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ :::
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.5 การวัดและประเมินผล :::
1) แบบฝึกหัดในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง งานประดิษฐ์จากวัสดุท้องถิ่น
2) แบบประเมินชิ้นงาน
3) แบบสังเกตพฤติกรรม กระบวนการและทักษะของผู้เรียน
4) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ :::
ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน :::
1) เร้าความสนใจด้วย สื่อการสอน ที่นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ที่ทันสมัย เข้ามาใช้ในการจัดการชั้นเรียน
2) ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสนำเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นแก่นความรู้ได้อย่างแท้จริง
3) เชื่อมโยงการดำรงชีวิตของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน การประดิษฐ์ชิ้นงานจากของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น
4) ใช้สื่อการเรียนการสอน คือ ตัวอย่างชิ้นงานประดิษฐ์ที่ทำจากของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น
------------------------------------
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะ ที่ดีของผู้เรียน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
:: 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน :
- มีการวิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้ผลการเรียน ในรายวิชาการงานพื้นฐาน
อาชีพ ระดับชั้นม.1
- การออกเยี่ยมบ้าน คัดกรองนักเรียน รวมไปถึงผู้ปกครองเข้ามามี
ส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา :::
- รองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
- งานวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
- ผู้ประสานงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- หัวหน้างานพัสดุ/ธุรการ กลุ่มบริหารงานบุคคล
- งานสหกรณ์โรงเรียน
- งานโภชนาการ
- ปฏิบัติงานโรงเรียนมาตรฐานสากล/IS
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ :::
ท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและ
แก้ปัญหาทักษะการทำงานร่วมกัน ให้ประสิทธิผลมากที่สุด
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ :::
ส่วนที่ 2
ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
::: ประเด็นท้าทาย :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
(ง 21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กับรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยการให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการแบ่งกลุ่ม
การทำงาน ครูผู้สอนติดตามความก้าวหน้าจากชิ้นงาน และกระบวนการทำงาน และนำไปสู่การแก้ปัญหา และในระหว่างการปฏิบัติงานครูผู้สอนได้นำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนมา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้สอนภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาผู้เรียนให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้
1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด
3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง
8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิดรวบยอด
9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ จำนวน 1 ห้องเรียน รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 40 คน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากผู้เรียนยังมีการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ตามกระบวนการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่ผู้เรียนได้รับการจัดการเรียนจากครูผู้สอนที่นำองค์ความรู้ที่ได้พัฒนาตนเอง และการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ พัฒนานักเรียนให้เต็มตามศักยภาพ เหมาะสมตามวัยและลักษณะของผู้เรียน